[ เมนูหลัก ]
การประเมินความเครียด

ความเครียดคือ

       ความเครียด เป็นเรื่องของร่างกายและจิตใจ ที่เกิดการตื่นตัว เตรียมรับกับเหตุการณ์ใดเหตุการณ์หนึ่ง ซึ่งเราคิดว่าไม่น่าพอใจ เป็นเรื่องที่หนักหนาสาหัสเกินกำลังทรัพยากรที่เรามีอยู่ หรือเกินความสามารถของเราที่จะแก้ไขได้ ทำให้รู้สึกหนักใจ เป็นทุกข์ และพลอยทำให้เกิดอาการผิดปกติทางร่างกายและพฤติกรรมตามไปด้วย
ความเครียดนั้นเป็นเรื่องที่มีกันทุกคน จะมากหรือน้อยขึ้นอยู่กับสภาพปัญหา การคิด และการประเมินสถานการณ์ของแต่ละคน ถ้าเราคิดว่าปัญหาที่เกิดขึ้นไม่ร้ายแรง เราก็จะรู้สึกเครียดน้อยหรือแม้เราจะรู้สึกว่าปัญหานั้นร้ายแรง แต่เราพอจะรับมือไหว เราก็จะไม่เครียดมาก แต่ถ้าเรามองว่าปัญหานั้นใหญ่ แก้ไม่ไหว และไม่มีใครช่วยเราได้ เราก็จะเครียดมาก ความเครียดในระดับพอดี จะช่วยกระตุ้นให้เรามีพลัง มีความกระตือรือร้นในการต่อสู้ชีวิต ช่วยผลักดันให้เราเอาชนะปัญหาและอุปสรรค์ต่าง ๆ ได้ดีขึ้น
แต่เมื่อใดที่ความเครียดมาเกินไป จนเราควบคุมไม่ได้ เมื่อนั้นที่เราจะต้องมาผ่อนคลายความเครียดกัน

ความเครียดเกิดจากสาเหตุสำคัญ 2 ประการคือ

     1. สภาพปัญหาที่เกิดขึ้นในชีวิต เช่น ปัยหาการเงิน ปัญหาการงาน ปัญหาครอบครัว ปัญหาการเรียน ปัญหาสุขภาพ ปัญหามลพิษ ปัญหารถติด ปัญหาน้ำท่วม ปัญหาฝนแล้ง ปัญหาความขัดแย้งระหว่างบุคคล ฯลฯ ปัญหาเหล่านี้จะเป็นตัวกระตุ้นให้คนเราเกิดความเครียดขึ้นมาได้
    2. การคิดและการประเมินสถานการณ์ของบุคคล เราจะสังเกตได้ว่า คนที่มองโลกในแง่ดี มีอารมณ์ขัน ใจเย็น จะมีความเครียดน้อยกว่าคนที่มองโลกในแง่ร้าย เอาจริงเอาจังกับชีวิต และใจร้อน นอกจากนี้คนที่รู้สึกว่าตัวเองมีคนคอยให้การช่วยเหลือเมื่อมีปัญหาเช่น มีคู่สมรส มีพ่อแม่ ญาติพี่น้อง มีเพื่อนสนิทที่รักใคร่ และไว้วางใจกันได้ ก็จะมีความเครียดน้อยกว่าคนที่อยู่โดดเดี่ยวตามลำพัง
ความเครียดมักไม่ได้เกิดจากสาเหตุเพียงใดสาเหตุเดียว แต่มักจะเกิดจากทั้งสองสาเหตุประกอบกัน คือมีปัญหาเป็นตัวกระตุ้น และมีการคิด การประเมินสถานการณ์ เป็นตัวบ่งบอกว่าจะเครียดมากน้อยแค่ไหนนั่นเอง

แนวทางในการจัดการกับความเครียด มีดังนี้

    1. หมั่นสังเกตความผิดปกติทางร่างกาย จิตใจ และพฤติกรรมที่เกิดจากความเครียด ทั้งนี้อาจใช้แบบประเมินและวิเคราะห์ความเครียดด้วยตนเองก็ได้
    2. เมื่อรู้ตัวว่าเครียดจากปัญหาใด ให้พยายามแก้ปัญหานั้นให้ได้โดยเร็ว
    3. เรียนรู้การปรับเปลี่ยนความคิดจากแง่ลบให้เป็นแง่บวก
    4. ผ่อนคลายความเครียดด้วยวิธีที่คุ้นเคย
    5. ใช้เทคนิคเฉพาะในการคลายเครียด

¤ หน้าหลัก

¤ ข้อมูลโรงเรียน

¤ ข้อมูลบุคลากร

¤ ข้อมูลนักเรียน

¤ กรรมการสถานศึกษา

¤ กรรมการนักเรียน

¤ ผลงานครู

¤ ผลงานนักเรียน

¤ เข้าเรียนออนไลน์

-----------------------------------
¤ หน้าแรกระบบดูแล
-----------------------------------
ระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียน
-----------------------------------

¤ แผนภูมิระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียน

¤ ความหมายระบบดูแล

¤ กรอบแนวคิดระบบดูแลฯ
-----------------------------------
การรู้จักนักเรียนเป็นรายบุคคล
-----------------------------------

¤ การรู้จักนักเรียนเป็นรายบุคคล

¤ การประเมินความฉลาดทางอารมณ์(EQ)

¤ การประเมินพฤติกรรม(SDQ)

¤ การประเมินความเครียด

¤ การประเมินพหุปัญญา

¤ การวัดโรคซึมเศร้า

¤ การสำรวจทักษะการดำรงชีวิต


¤ มาตรการรักษาความปลอดภัย




ดาวน์โหลดคู่มือ

v คู่มือระบบบริหารดูแล
v คู่มือครูระบบดูแล

ดาวน์โหลดเอกสารด้านการดูแลฯ

ขั้นที่ 1 การรู้จักนักเรียนเป็นรายบุคคล

     v ความรู้การรู้จักผู้เรียนรายบุคคล
     v ข้อมูลนักเรียนรายบุคคล
     v ระเบียนสะสม
     v แบบบันทึกการเยี่ยมบ้าน
     v สรุปการเยี่ยมบ้านนักเรียน
     v ข้อมูลพื้นฐานการออกเยี่ยมบ้าน
     v ระเบียนสะสม งานระบบการดูแลช่วยเหลือนักเรียน

ขั้นที่ 2 การคัดกรองนักเรียน

* คัดกรอกนักเรียนด้านต่าง ๆ

   ความฉลาดทางอารมณ์ EQ
       v แบบประเมินความฉลาดทางอารมณ์ EQ
   แบบคัดกรองนักเรียนรายบุคคล
       v แบบคัดกรองนักเรียนรายบุ
       v แบบสรุปรายงานผลการคัดกรอง
   พฤติกรรมเด็ก SDQ
       v SDQ ครูประเมินนักเรียน
       v SDQ นักเรียนประเมินตนเอง
       v การแปลผลคะแนน SDQ
       v สรุปการคัดกรองนักเรียน SDQ
   ภาวะซึมเศร้า
       v แบบคัดกรองภาวะซึมเศร้าในวัยรุ่น CES-D
       v สรุปการคัดกรองภาวะซึมเศร้านักเรียน
   ยาเสพติด
       v แบบคัดกรองปัญหายาเสพติดนักเรียน

ขั้นที่ 3 การป้องกันและแก้ไขปัญหา

     v ความรู้การป้องกันและแก้ไขปัญหา
     v บันทึกการช่วยเหลือนักเรียน
     v ใบรับรองการแก้ไขพฤติกรรมนักเรียนผิดระเบียบ
     v สรุปติดตามนักเรียน
     v กิจกรรมนักเรียนเพื่อนที่ปรึกษา YC
     v แบบรายงานแจ้งผลการช่วยเหลือนักเรียน
     v แบบสรุปการป้องกันและแก้ไขปัญหานักเรียน

ขั้นที่ 4 ส่งเสริมและพัฒนา

     v ความรู้การส่งเสริมและพัฒนา
     v กิจกรรมโฮมรูม
     v ประชุมผู้ปกครองนักเรียน
     v ประชุมผู้ปกครองชั้นเรียน

ขั้นที่ 5 การส่งต่อ

     v ความรู้การส่งต่อ
     v บันทึกการส่งต่อภายใน
     v บันทึกการส่งต่อภายนอก
     v แบบรายงานแจ้งผลการช่วยเหลือนักเรียน
     v แบบบันทึกการส่งต่อYC